ENG KU NEWS

วันจันทร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2566
ข่าวล่าสุด :
ศูนย์วิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม บางเขน เข้าร่วมการบรรยายการจัดการขยะอินทรีย์นิสิตวิศวกรรมไฟฟ้า ได้รับรางวัล Best Award การประชุมวิชาการนานาชาติ IEECON2025คณะวิศวฯ ร่วมงานสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์ มก. ครบรอบ 59 ปีคณะวิศวฯ ร่วมงานสถาปนา คณะสังคมศาสตร์ มก. ครบรอบ 51 ปีคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ และคณะสังคมศาสตร์ มก. พร้อมทีมผู้บริหาร เข้าพบปลัดกรุงเทพมหานคร หารือความร่วมือ โครงการ KU Innovation Contestคณะวิศวฯ จัดการบรรยายพิเศษ ในการประชุมวิชาการ มก. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Global Warming) และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมผู้บริหารคณะวิศวฯ ร่วมพิธีเปิดการประชุมวิชาการ มก.คณะวิศวฯ ให้ข้อมูลการอบรมหลักสูตรการสร้างหุ่นยนต์ แก่ผู้ประกอบการทางการศึกษาคณะวิศวฯ -บ.มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมลงนามในบันทึกข้อคกลงความร่วมมือ พัฒนาการศึกษาและบุคลากรด้านระบบออโตเมชั่นเพื่อรองรับภาคอุตสาหกรรมคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้อนรับ บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จำกัด สานต่อความร่วมมือด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 5.0

การพัฒนาระบบการจัดการกล้วยไม้สกุลหวายแบบแม่นยำสูง โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา

การพัฒนาระบบการจัดการกล้วยไม้สกุลหวายแบบแม่นยำสูง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา หัวหน้าโครงการฯ
ข้อมูลจาก สำนักงานพัฒนาการวิจัยและการเกษตร

ที่มาและความสำคัญของปัญหา
กล้วยไม้เป็นพืชเศรษฐกิจส่งออกที่สำคัญของไทย
โดย 80% เป็นกล้วยไม้ตัดดอกและเป็นกล้วยไม้สกุลหวายมากที่สุด ขณะที่ปัจจุบันเกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้ประสบปัญหาสภาวะต้นทุนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งปัจจัยการผลิตและค่าแรงงาน ในขณะที่ราคารับซื้อไม่ได้ปรบตัวขึ้นมากนัก ด้วยส่วนใหญ๋ยังคงใช้แรงงานทำการฉีดพ่นป๋ยและสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
งานวิจัยนี้ จึงพัฒนาหุ่นยนต์กล้วยไม้อัจฉริยะ (ระบบสลิง รุ่นที่ 2) ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นในด้านประสิทธิภาพเชิงไร่ ประสิทธิผลในการฉีดพ่น คุ้มค่าต่อการลงทุน มีศักยภาพในการผลิตและจำหน่ายได้ในเชิงพาณิชย์ และรองรับการพัฒนาระบบฉีดพ่นเฉพาะจุดที่ควบคุมด้วยปัญญาประดิษฐ์สำหรับอนาคต

เป้าหมาย : ต้นแบบหุ่นยนต์กล้วยไม้อัจฉริยะระบบสลิงรุ่นที่ 2

แนวทางการขยายผล :  ต่อยอดสู่การทดสอบภาคสนาม ถ่ายทอดกระบวนการผลิตให้แก่ผู้ประกอบการที่สนใจ

ผู้ใช้ประโยชน์
1. กลุ่มคลัสเตอร์กล้วยไม้จังหวัดราชบุรี
2. เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้สกุลหวาย

ผลกระทบ

1.ช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้ลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ
-ช่วยลดต้นทุนค่าปุ๋ยและค่ายาลงได้ 50% เมื่อเทียบกับการใช้แรงงานเกษตรกรโดยได้ผลผลิตเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น
-ช่วยลดความสูญเสียจากการระบบของโรคและแมลงศัตรูกล้วยไม้
2. แก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและแรงงานสูงวัย

ข้อมูลข่าวจาก สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์

https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG231121192840930

ข้อมูลจากข่าวทีวี (ข่าวสามมิติ ช่อง 3)

https://fb.watch/otX0KMt6sV/

ข่าวจากเว็บไซต์ สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)

wisdomking.or.th/th/news/receive-his-majesty-at-agritech-and-innovation-moving-forward-from-local-to-global

ข่าวจากไทยรัฐ

สวก. โชว์ผลงานวิจัยเด่น 6 เมกะเทรนด์เปลี่ยนโลก พลิกโฉมเกษตรไทยสู่สากล (thairath.co.th)

ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ

สวก. จัดใหญ่ จัดเต็ม!! โชว์ผลงานวิจัยเด่น 6 เมกะเทรนด์เปลี่ยนโลก พลิกโฉมเกษตรไทยสู่สากล – สยามรัฐ (siamrath.co.th)

คลังข้อมูลการวิจัยการเกษตรไทย

https://tarr.arda.or.th/preview/item/SmJ4l1_jT-3j1SD–Zyt5?keyword=

 

แสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกับเรา

ข่าวล่าสุด

คณะวิศวฯ -บ.มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมลงนามในบันทึกข้อคกลงความร่วมมือ พัฒนาการศึกษาและบุคลากรด้านระบบออโตเมชั่นเพื่อรองรับภาคอุตสาหกรรม

อ่านต่อ »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้อนรับ บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จำกัด สานต่อความร่วมมือด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 5.0

อ่านต่อ »

ติดตามเราได้ที่